พุยพุย

วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2561

สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์

สรุปวิจัยวิทยาศาสตร์ Scientific Research

การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์
ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5 E
THE DEVELOPMENT OF PROBLEM SOLVING ABILITY AND SCIENTIFIC MIND OF EARLY CHILDHOOD STUDENT TAUGHT BY INQUIRY METHOD PROVISION OF EXPERIENCES 5 E

โดย นางสาวกนกวรรณ พิทยะภัทร
วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ
ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปีการศึกษา 2556
ลิขสิทธ์ของบณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

จุดประสงค์ของวิจัย
     1. เพื่อศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยชั้นอนุบาลปีที่ 2 หลังการจัดประสบการณ์ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E
     2. เพื่อศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยชั้นนอนุบาลปีที่ 2 หลังได้รับการจัดประสบการณ์ด้วยการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E

ขอบเขตการวิจัย
     1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
          1.1 ประชากรได้แก่เด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปีทีกำลังศึกษาอยู่ชันอนุบาลปีที2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2556 ของโรงเรียนในกลุ่มเครือขายลาดใหญ่จํานวน 10 โรงเรียน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม จํานวน 200คน
          1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่เด็กปฐมวัยชาย หญิง อายุระหว่าง 5-6 ปีที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนบ้านลาดใหญสามัคคีซึ่งได้จากการสุ่มอย่างง่าย(Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับสลากห้องเรียนได้ห้องอนุบาลปีที่ 2 จํานวน 23 คน
     2. ตัวแปรทีศึกษา
           2.1 ตัวแปรอิสระ ได้แก่การจัดประสบการณ์ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E
           2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
             2.2.1 ความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
             2.2.2 จิตวิทยาศาสตร์ 3 ด้าน ดังนี้ ความสนใจใฝ่รู้ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์
     3. ขอบเขตเนื้อหาหัวข้อเรื่องที่นำมาสร้างแผนการจัดประสบการณ์สาระที่ควรเรียนรู้ด้านเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
     4. ระยะเวลา ใช้เวลาในการดำเนินการจัดประสบการณ์ 8 สัปดาห์สัปดาห์ละ 5 วัน

          ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์  มี 4 ด้าน
1.สังเกต เปรียบเทียบ
2.การจัดหมวดหมู่
3.การเรียงลำดับ
4.การรู้ค่าจำนวน

          เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 
1.แผนการจัดกิจกรรมการสาน
2.แผนทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

          ผลการวิจัยพบว่า 
1.ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ทั้งโดยรวมและรายด้านของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมการสานสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรมการสาน
 2.เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ก่อนการทดลองโดยรวมและรายด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับพอใช้ หลังการทดลองโดยรวมและรายด้าน ทุกด้านอยู่ในระดับดี

ตัวอย่างแผนการจัดประสบการณ์ 


ตัวอย่างแบบทดสอบ
ตัวอย่างแบบสังเกต


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น